การอบรม/สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง รู้ทันเทคโนโลยี Blockchain: The Next Internet? รุ่นที่ 5
05/04/2019ประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2562
12/08/2019เป็น Open Source BI Application Software ที่ใช้ Java technology และเป็นที่สนใจอย่างกว้างขวาง หลังจากได้รับรางวัล Bossie Awards 2010: The best open source applications โดย Pentaho ได้มีการพัฒนาชุดซอฟต์แวร์นี้เชิงรุกอย่างต่อเนื่อง จุดเด่นอีกประการหนึ่งของ Pentaho Business Analytic Platform คือ รองรับการทำงานกับข้อมูลที่หลากหลาย ทั้งฐานข้อมูล NOSQL การประมวลผล big data ด้วย Hadoop และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Weka, R, และ Spark อีกทั้งเป็นระบบ Open Source ที่ติดตั้งง่าย ใช้งานง่าย มีทั้งระบบที่เป็น Community Edition (Pentaho CE) ซึ่งไม่มีค่าใช้จ่ายด้านซอฟต์แวร์ และระบบ Enterprise Edition (Pentaho EE) ซึ่งเพิ่ม features ต่างๆ มากขึ้นจากระบบ Community Edition
2. Postgres (https://www.postgresql.org/) THE WORLD'S MOST ADVANCED OPEN SOURCE RELATIONAL DATABASE
3. Weka (https://www.cs.waikato.ac.nz/ml/weka/) Open source software ในการทำ data mining และสามารถ deploy model อัตโนมัติผ่าน Pentaho Data Integration โดยไม่ต้องเขียน code
4. R (https://www.r-project.org/) สำหรับการทำ Exploratory Data Analysis & Modelling โดยไม่ต้องเขียน code แต่เรียกใช้เมนู R-Commander (เหมือนเมนู SPSS) ในการวิเคราะห์ และเรียนรู้คำสั่ง R จาก R-Commander
5. Cloudera Hadoop (https://www.cloudera.com/products/open-source/apache-hadoop.html) และ Pentaho-Hadoop ผ่าน Pentaho Data Integration
6. Power BI (https://powerbi.microsoft.com/) เสริม สำหรับ Visualization
(อบรมวันจันทร์-อังคารที่ 27 – 28 พฤษภาคม 2562)
ปูพื้นฐานหลักของการพัฒนาระบบ Business Intelligence เป็นการนำเสนอข้อมูลแบบ Descriptive อัตโนมัติ โดยใช้เครื่องมือหลัก 3 ตัว คือ Schema Workbench สำหรับสร้าง OLAP Cube, Data Integration สำหรับทำ ETL (Extract Transform and Load), และ Community Dashboard Editor (CDE) สำหรับสร้าง Dashboard เป็นการจัดการและวิเคราะห์ข้อมูลแบบอัตโนมัติระดับ Descriptive Analytics ซึ่งใช้มากในองค์กร
โมดูล 2: Diagnostic, Predictive, and Prescriptive Analytics
(อบรมวันพุธ-พฤหัสที่ 29 – 30 พฤษภาคม 2562)
นำเสนอการจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ของ Use case จริง 2 Use cases
วันที่ 1 eLearning Use case
ปฏิบัติการกรณีศึกษาการพัฒนาระบบ BI จากโจทย์งานวิจัย “การทำเหมืองข้อมูลของระบบการจัดการเรียนออนไลน์: กรณีศึกษาของระบบ ATutor” ที่ http://ejournals.swu.ac.th/index.php/ssj/article/viewFile/847/846 จาก data source ที่เป็น OLTP Relational Database ซึ่งยังไม่เป็นระบบอัตโนมัติ ให้เป็นระบบ BI อัตโนมัติ ด้วย Pentaho ทำ data mining โดยใช้ Weka และ deploy model โดยใช้ Pentaho Weka Scoring Plugin Data Science Pack ของ Pentaho ในการอบรม Use case นี้จะเห็นตั้งแต่ Descriptive Analytics, Predictive Analytics และ Prescriptive Analytics (การนำโมเดลไปใช้)
วันที่ 2: IOT Use case
ปฏิบัติการกรณีศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลจริง (use case) จาก IOT Sensors วัดคุณภาพอากาศ (https://canarin.net/seahazemon/) จากโครงการวิจัยของ intERLab AIT (https://interlab.ait.ac.th/cwmn/index.php) การจัดการข้อมูล การวิเคราะห์สถิติสำหรับการทำ Exploratory Data Analysis, Time Series, Modelling ด้วย Regression, Linear Model, Neural Net ด้วยโปรแกรม R, Weka, Pentaho, และเสริม visualization ด้วย Power BI
โมดูล 3: Big Data Analytics with Pentaho Hadoop
(อบรมวันศุกร์ – เสาร์ ที่ 30 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2562)
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับนักไอทีที่สนใจเป็น Data Scientist, Data Engineer และ Computer System Engineer
(ใช้ OS Linux บน Virtual Machine)
วันที่ 1 การวิเคราะห์ big data ด้วย Hadoop และ Pentaho-Hadoop ด้วยโจทย์ข้อมูลของ Web log โดยใช้ Pentaho Data Integration ซึ่งไม่ต้องเขียน JAVA Map-Reduce และการนำเสนอผลการวิเคราะห์ใน Pentaho OLAP Cube, การใช้งาน Hive และ HBase โดยใช้ Virtual Machine ที่ติดตั้ง CentOS, JAVA, PostgreSQL, Pentaho CE, Hadoop (version 1) เรียบร้อยแล้ว เน้นการใช้งานสำหรับ Data Scientist
วันที่ 2: การติดตั้ง Hadoop Cluster (Hadoop version 2) ด้วย Cloudera และทดสอบการใช้งาน
การ run WordCount ด้วย Java Map-Reduce การวิเคราะห์ข้อมูลตัวอย่าง Web log ด้วย Pentaho-Hadoop บน Cloudera Hadoop Cluster การติดตั้งและใช้งานเครื่องมืออื่น ๆ ของ Hadoop Ecosystem เช่น Hive การใช้งาน Pentaho ร่วมกับ Hadoop, Hive การใช้งาน Hue – Web UI
หมายเหตุ ผู้เข้าอบรมไม่ต้องเขียน code ใด ๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูล เหมาะสำหรับนักไอทีและผู้ที่สนใจการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ เพื่อสร้างทักษะการทำงานเป็น Data Analyst, Data Scientist, Data Engineer
สามารถดูรายละเอียดกำหนดการอบรมและเอกสารอบรมได้ที่เว็บสมาคม www.tatsc.or.th
Promotion พิเศษ: สมัครและชำระค่าอบรมภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2562
ธนาคารกรุงเทพ สาขาจามจุรี สแควร์ บัญชีเงินฝากสะสมทรัพย์ เลขที่: 939-0-14153-0
ชื่อบัญชี: สมาคม ศูนย์วิชาการไทย-ออสเตรเลีย
1) สมาคมขอสงวนสิทธิ์ที่จะยกเลิกการอบรมในกรณีที่มีเหตุขัดข้องสุดวิสัย โดยทางสมาคมฯ จะโอนเงินคืนให้ท่านในกรณีที่ท่านได้มีการชำระมาก่อนล่วงหน้า